Responsive image
เมนูหลัก
หน้าหลัก
เกี่ยวกับสำนักงาน
ประวัติความเป็นมา
สภาพทั่วไป
สภาพสังคม
สภาพทางเศรษฐกิจ
การบริการพื้นฐาน
ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
เกี่ยวกับเรา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
โครงสร้างส่วนราชการ
บทบาทหน้าที่
บุคลากร
คณะผู้บริหาร
งานบริหารทั่วไป
กลุ่มงานมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น
กลุ่มงานกฎหมายระเบียบและเรื่องร้องทุกข์
กลุ่มงานการเงินบัญชีและการตรวจสอบ
บุคลากรท้องถิ่นอำเภอ
กลุ่มงานบริการสาธารณะท้องถิ่นและประสานงานท้องถิ่นอำเภอ
ข่าวสารราชการ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวรับสมัครโอน/ย้าย
หนังสือราชการ สถ.จ.
คู่มือประชาชนและคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน สถจ.
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต
แผนปฏิบัติการป้องการการทุจริต
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
สถิติการรับเรื่องร้องเรียน
ผลการแก้ไขปัญหา และมาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
ITA
ITA ปี พ.ศ. 2567
ข่าวสารเครือข่าย
ข่าวประชาสัมพันธ์เครือข่าย
ข่าวกิจกรรมเครือข่าย
ปฏิทินกิจกรรมเครือข่าย
ข่าวรับสมัครโอน/ย้ายเครือข่าย
สินค้า OTOP เครือข่าย
ระเบียบ
หนังสือสั่งการ สถ.
พรบ./พรก.
กฎระเบียบกระทรวง
คำสั่ง สถ.
มติ ก. อบจ.
มติ ก. เทศบาล
มติ ก. อบต.
ข้อบัญญัติ
รายรับรายจ่าย
รายงานการประชุม
ติดต่อเรา
ติดต่อเรา
แผนที่ดาวเทียม
ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
facebook สถจ.ยโสธร









หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สภาพเศรษฐกิจ
สภาพทางเศรษฐกิจ
 
            ด้านการค้า
            การจดทะเบียนประกอบธุรกิจ ณ 30 ก.ย. 58 มีผู้จดทะเบียนนิติบุคคล 946 ราย การค้าของจังหวัดยโสธรโดยเฉพาะการค้าข้าวมีหนาแน่นที่ชุมชนเทศบาลเมืองยโสธร เทศบาลตำบลกุดชุมพัฒนา เทศบาลตำบลเลิงนกทา เทศบาลตำบลคำเขื่อนแก้ว สินค้าที่มีชื่อเสียง ได้แก่  ข้าวหอมมะลิ หมอนขวานผ้าขิด ผ้าไหมลายลูกหวาย ผ้าไทยท้องถิ่นปลาส้ม ถั่วลิสง ก่องข้าว โดยในปี พ.ศ. 2558 จังหวัดสามารถจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ 1,081,433,256 บาท
           ด้านการบริการ
1) ด้านการเงิน  มีธนาคารพาณิชย์ 20 แห่ง  ปี  2559  (ณ 30 เม.ย. 59)  เงินฝากกระแสรายวัน  ฝากประจำ  ฝากออมทรัพย์  12,462  ล้านบาท เงินให้สินเชื่อ 18,494 ล้านบาท
2) ด้านสาธารณูปโภค มีบริการไฟฟ้าและประปาที่ดี ไปรษณียภัณฑ์ขนส่งทางบก และในอนาคตระยะต่อไปจังหวัดจะมีทางรถไฟผ่านพื้นที่อำเภอเลิงนกทา และการพัฒนา/ผลักดันให้สนามบินเลิงนกทาเป็นสนามบินพาณิชย์
           ด้านการท่องเที่ยว
                    1) ด้านที่พักโรงแรม มีโรงแรม 97 แห่ง จำนวน 1,773 ห้องพัก 
                    2) ด้านรายได้จากการท่องเที่ยวพบว่า จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างปี 2554-2558 มีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยในปี 2554 มีจำนวน 433,652 คน เพิ่มขึ้นเป็น 513,244 คน ในปี 2558  และรายได้จากการท่องเที่ยวมีจำนวนเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน โดยในปี 2554 มีรายได้ 492.95 ล้านบาท และในปี 2558 เพิ่มขึ้นเป็น 609.18 ล้านบาท ระยะเวลาพำนักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติพบว่า มีระยะเวลาพำนักเฉลี่ยเพิ่มขึ้น โดยชาวไทยมีระยะเวลาพำนักเฉลี่ย ปี 2554 จำนวน 1.96 วัน และในปี 2558 เพิ่มขึ้นเป็น 2.04 วัน สำหรับชาวต่างชาตินั้น มีระยะเวลาพำนักเฉลี่ยลดลง โดยในปี 2554 มีระยะเวลาพำนักเฉลี่ย 2.48 วัน และในปี 2558 ลดลงเป็น 2.43 วัน สำหรับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันของนักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดยโสธร พบว่า ชาวไทยมีการใช้จ่ายเพิ่มขึ้นโดย ปี 2554 มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคิดเป็น 741.05 บาทต่อคนต่อวัน เพิ่มขึ้นเป็น 771.18 บาทต่อคนต่อวันในปี 2558 สำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาตินั้นมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันเพิ่มขึ้น โดยมีปี 2554 คิดเป็น 977.14 บาทต่อคนต่อวัน และเพิ่มขึ้นเป็น 1,115.83 บาท ต่อคนต่อวันในปี 2558
                จำนวนนักท่องเที่ยว รายได้ ระยะเวลาการพำนักและค่าใช้จ่าย ปี พ.ศ. 2554 – 2558  

ปี
จำนวนนักท่องเที่ยว รายได้ 
(ล้านบาท)
ระยะเวลาพำนักเฉลี่ย (วัน) ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 
(บาท/คน/วัน)
รวมทั้งสิ้น 
(คน)
ชาวไทย 
(คน)
ชาวต่างชาติ 
(คน)
ชาวไทย ชาวต่างชาติ ชาวไทย ชาวต่างชาติ
2554 433,652 424,318 9,334 492.95 1.96 2.48 741.05 977.14
2555 453,514 442,428 11,086 513.56 1.98 2.45 739.28 1,032.89
2556 499,902 487,629 12,273 575.73 2.12 2.43 724.42 1,051.16
2557 494,385 482,377 12,008 581.62 2.09 2.41 753.15 1,086.87
2558 513,244 500,922 12,322 609.18 2.04 2.43 771.18 1,115.83
            ที่มา : สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยโสธร

            ด้านผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดและรายได้เฉลี่ยคน
ในปี 2557 โครงสร้างการผลิตตามมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) จังหวัดยโสธร  จำนวน 16 สาขา มีมูลค่า 25,731 ล้านบาท อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ -6.9 มูลค่าผลิตภัณฑ์ เฉลี่ยต่อหัว (Per Capita : GPP) จำนวน 53,120 บาท  จัดเป็นลำดับที่ 19 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และลำดับที่ 76 ของประเทศ โดยสาขาการผลิตที่ทำรายได้มากที่สุด คือ สาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ การป่าไม้ มีมูลค่า 7,421 ล้านบาท  รองลงมา คือ สาขาการศึกษา มีมูลค่า 5,169 ล้านบาท  และการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ มีมูลค่า 2,537 ล้านบาท ตามลำดับ

ที่
พ.ศ. ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) (ล้านบาท) รายได้เฉลี่ยต่อคน (บาท)
ข้อมูลจาก สศช. ข้อมูลจาก สนง.คลังจังหวัดยโสธรจัดเก็บ (Bottom Up) ข้อมูลจาก 
สศช.
ข้อมูลจาก สนง.คลังจังหวัดยโสธรจัดเก็บ (Bottom Up)
1 2552 17,493 21,676 35,200 35,250
2 2553 21,060 26,147 43,185 42,361
3 2554 22,233 29,189 45,618 47,150
4 2555 24,155 28,829 49,642 46,412
5 2556 27,638 33,095 56,928 52,615
6 2557 25,731 30,371 53,120 48,516
              ที่มา : สำนักงานคลังจังหวัดยโสธร
           ด้านครัวเรือนยากจนตามเกณฑ์ จปฐ.
                   ตามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) (เขตชนบท) และข้อมูลพื้นฐาน (เขตเมือง) ประจำปี 2559 สำรวจ 132,563 ครัวเรือน ประชากรจำนวน 415,776 คน มีรายได้เฉลี่ย 66,789 บาท/คน/ปี มีครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี จำนวน 222 ครัวเรือน
ที่ พ.ศ. จำนวนครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่า 
เกณฑ์ จปฐ. (ครัวเรือน)
รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท)
1 2554 270 48,713.63
2 2555 1,006 54,885
3 2556 579 57,016
4 2557 475 64,941
5 2558 218 65,358
6 2559 222 66,789
            ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดยโสธร
           ด้านการประกอบอาชีพ 
                    ประชากรในจังหวัดยโสธรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม (เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง) มีจำนวน ๑๕๒,๘๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๔๖ ของผู้มีงานทั้งในภาคเกษตรกรรมและนอกภาคเกษตรกรรม ขณะที่นอกภาคเกษตรกรรมมีจำนวน ๙๑,๘๔๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๕๔ โดยด้านการขายส่งและการขายปลีกมีจำนวนมากที่สุด รองลงมาคือด้านการก่อสร้าง และด้านกิจกรรมโรงแรมและอาหาร ตามลำดับ (ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2559)
ตารางผู้มีงานทำในภาคเกษตรกรรม/นอกภาคเกษตรกรรม จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมและเพศ

ประเภทอุตสาหกรรม
ชาย หญิง รวม
รวม 130,480 114,193 244,673
ภาคเกษตรกรรม 77,649 75,175 152,824
  1. เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง
77,649 75,175 152,824
นอกภาคเกษตรกรรม 52,831 39,018 91,849
        2. การทำเหมืองแร่ และเหมืองหิน - - -
        3. การผลิต 5,862 10,898 16,760
        4. การไฟฟ้า ก๊าซ และไอน้ำ 483 - 483
        5. การจัดหาน้ำ บำบัดน้ำเสีย 1,951 532 2,483
        6. การก่อสร้าง 21,444 2,993 24,437
        7. การขายส่ง การขายปลีก 15,758 16,419 32,177
        8. การขนส่ง ที่เก็บสินค้า 2,489 172 2,661
        9. กิจกรรมโรงแรมและอาหาร 3,472 6,582 10,054
        10. ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 198 223 421
        11. กิจการทางการเงินและการประกันภัย 773 1,145 1,918
        12. กิจการอสังหาริมทรัพย์ - - -
        13. กิจกรรมทางวิชาชีพและเทคนิค - - -
        14. การบริหารและการสนับสนุน 401 54 455
  ที่มา : สำนักงานแรงงานจังหวัดยโสธร
 
           ภาคการผลิตที่สำคัญของจังหวัด
                    1) ภาคการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง : จังหวัดมีพื้นที่การเกษตรกรรม  (เพาะปลูกและ           ปศุสัตว์ / ประมง)  1,623,649  ไร่
                        1.1) สาขาการผลิตพืช  ในปี 2558 มีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญที่เพาะปลูก ได้แก่ 
            - ข้าวนาปี  พื้นที่เพาะปลูก  1,467,340 ไร่  และข้าวนาปรัง 26,000 ไร่ โดยข้าวนาปีที่ปลูกเป็นข้าวเจ้าธรรมดาและข้าวเจ้าหอมมะลิมีพื้นที่ปลูก 1,063,295  ไร่  ข้าวเหนียว 404,045 ไร่ มีการปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรีย์ที่อำเภอกุดชุม  อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอค้อวัง  พื้นที่ปลูก  46,626 ไร่  ผลผลิตเฉลี่ย 378 ก.ก./ไร่ ดำเนินการ โดยกลุ่มเกษตรกรทำนานาโส่ อำเภอกุดชุมกลุ่มเกษตรกรทำนาบากเรือ อำเภอมหาชนะชัยสหกรณ์เกษตรอินทรีย์เลิงนกทา – ไทยเจริญ จำกัด อำเภอเลิงนกทากลุ่มเกษตรกรข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม อำเภอป่าติ้ว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมธรรมชาติหนองยอ อำเภอกุดชุม กลุ่มวิสาหกิจผู้ผลิตข้าวอินทรีย์เพื่อสังคมโนนยาง อำเภอกุดชุม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์และข้าวอินทรีย์บ้านคำครตา อำเภอทรายมูล สหกรณ์เกษตรอินทรีย์แทนรัก จำกัด อำเภอเมืองยโสธร และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมธรรมชาติยั่งยืนน้ำอ้อม อำเภอค้อวัง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม อำเภอป่าติ้ว  ซึ่งจะส่งไปจำหน่ายต่างประเทศตามมาตรฐานที่ผู้สั่งซื้อกำหนด
            - มันสำปะหลัง พื้นที่เพาะปลูก 130,667  ไร่  ผลผลิตรวม 401,168 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 3,070 ก.ก./ไร่
            - ยางพารา พื้นที่เพาะปลูก 117,271 ไร่  ผลผลิตรวม 16,228 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 138.38  ก.ก./ไร่
            - อ้อยโรงงาน พื้นที่เพาะปลูก 38,562 ไร่ ผลผลิตรวม 433,051 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 11,230 ก.ก./ไร่
            - ปาล์มน้ำมัน พื้นที่ปลูก 1,759 ไร่ ผลผลิตรวม 2,114 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 698 ก.ก./ไร่
            - แตงโม พื้นที่เพาะปลูก 3,119 ไร่ ผลผลิตรวม 9,617 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 3,080 ก.ก./ไร่
            - ถั่วลิสง พื้นที่เพาะปลูก 4,259 ไร่ ผลผลิตรวม 1,227 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 288 ก.ก./ไร่
            - หอมแดง พื้นที่เพาะปลูก 1,285 ไร่ ผลผลิตรวม 2,628 ตัน 2,045 ก.ก./ไร่
            - ข้าวโพดหวาน พื้นที่เพาะปลูก  449 ไร่ ผลผลิตรวม 703 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,666 ก.ก./ไร่
            - กล้วยน้ำว้า พื้นที่เพาะปลูก 350 ไร่ ผลผลิตรวม 82 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 235 ก.ก./ไร่
            - พริกขี้หนูสวน  พื้นที่เพาะปลูก 185 ไร่ ผลผลิตรวม 296 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,600 ก.ก./ไร่
            - ผักบุ้งจีน พื้นที่เพาะปลูก 120 ไร่ ผลผลิตรวม 150 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,250 ก.ก./ไร่
            - คะน้า พื้นที่เพาะปลูก 32 ไร่ ผลผลิตรวม 46 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,425 ก.ก./ไร่
            - ถั่วฝักยาว พื้นที่เพาะปลูก 89 ไร่ผลผลิตรวม 85 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 950 ก.ก./ไร่
            ข้อมูลการผลิตข้าวเจ้านาปี
ที่ พ.ศ. พื้นที่ปลูก (ไร่) พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย กก./ไร่ ปริมาณจำหน่าย (ตัน) รายได้จากการจำหน่าย (บาท) ราคา/ตัน (บาท)
1 2553 900,170 898,717 395,331 440 237,198 3,629,138,580 15,300
2 2554 1,102,281 1,008,845 458,763 455 275,257 4,099,964,931 14,895
3 2555 1,093,986 931,449 430,469 462 258,281 5,062,315,440 19,600
4 2556 1,121,415 1,005,030 464,324 462 309,550 5,435,698,000 17,500
5 2557 1,094,255 1,022,043 472,184 462 314,789 5,527,694,840 17,560
6 2558 1,063,295 975,957 438,205 449 262,923 3,155,076,000 12,000

            ข้อมูลการผลิตข้าวเจ้านาปรัง
ที่ พ.ศ. พื้นที่ปลูก (ไร่) พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย กก./ไร่ ปริมาณจำหน่าย (ตัน) รายได้จากการจำหน่าย (บาท) ราคา/ตัน (บาท)
1 2553 105,569 105,523 87,172 826 69,738 627,638,400 9,000
2 2554 148,414 148,414 93,355 629 74,684 724,840,000 10,000
3 2555 160,610 160,521 116,204 724 92,963 1,375,855,360 14,800
4 2556 96,450 89,342 60,177 673 60,177 355,044,300 5,900
5 2557 36,111 35,895 19,357 539 19,357 128,917,260 6,660
6 2558 24,641 23,750 13,656 575 12,973 97,297,500 7,500

            ข้อมูลการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัย (GAP)
ที่ พ.ศ. พื้นที่ปลูก (ไร่) พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย กก./ไร่ ปริมาณจำหน่าย (ตัน) รายได้จากการจำหน่าย (บาท) ราคา/ตัน (บาท)
1 2553 11,500 11,500 5,060 440 24,086 368,515,800 15,300
2 2554 110,237 110,237 50,158 455 30,095 448,265,025 14,895
3 2555 127,677 127,677 58,987 462 35,392 693,683,200 19,600
4 2556 132,504 132,504 61,217 462 40,812 795,834,000 19,500
5 2557 139,287 139,287 64,351 462 42,900 836,550,000 19,500
6 2558 149,969 149,969 67,336 449 67,336 808,032,000 12,000

           ข้อมูลการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์
ที่ พ.ศ. พื้นที่ปลูก (ไร่) พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย กก./ไร่ ปริมาณจำหน่าย (ตัน) รายได้จากการจำหน่าย (บาท) ราคา/ตัน (บาท)
1 2553 21,834 21,834 9,704 362 6,323.2 101,171,200 16,000
2 2554 27,636 27,635 10,087 365 8,070 121,050,000 15,000
3 2555 32,157 32,157 11,834 368 9,467.2 198,811,200 21,000
4 2556 38,126 38,126 14,221 373 11,376.80 238,912,800 21,000
5 2557 42,126 42,126 15,798 375 12,638.40 265,406,400 21,000
6 2558 46,626 46,626 17,625 378 14,100 211,500,000 15,000
      ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดยโสธร
            ข้อมูลพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ
ที่ พืชเศรษฐกิจ พ.ศ. ผลผลิต 
(ตัน)
พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) แหล่งปลูกที่สำคัญ 
(อำเภอ)
ปริมาณจำหน่าย (ตัน) มูลค่าการจำหน่าย (บาท)
1 ยางพารา 2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2,637
3,293 
4,349 
1,664 
5,628 
16,709.75
16,708
59,726
64,422
73,451
90,298
92,138
115,497
117,271
เลิงนกทา, กุดชุม, 
เมืองยโสธร,ป่าติ้ว, ไทยเจริญ,
คำเขื่อนแก้ว, 
ทรายมูล
2,637
3,293
4,349
1,664
5,628
16,709.75
16,708
163,414,890 
302,001,030 
521,880,000 
148,397,842 
359,854,320
571,473,450
434,397,600
2 มันสำปะหลัง 2552 
2553 
2554 
2555 
2556
2557
2558
331,624
161,681
482,901
181,952
348,032
134,358
473,668
140,103
159,065
243,285
118,377
196,141
58,792
96,975
เมืองยโสธร,
คำเขื่อนแก้ว,
มหาชนะชัย, 
ค้อวัง, 
เลิงนกทา, กุดชุม, 
ป่าติ้ว, ทรายมูล, 
ไทยเจริญ
31,624
161,681
482,901
181,952
348,032
134,358
473,668
66,324,800
404,202,500
965,802,000
454,880,000
790,032,640
268,770,000
852,397,160
3 อ้อยโรงงาน 2552 
2553 
2554 
2555 
2556
2557
2558
246,890 
177,129 
240,052 
237,875 
423,419 
467,308 
433,051
28,876
20,501
26,822
25,856
47,844
45,591
38,562
เลิงนกทา, กุดชุม, 
ไทยเจริญ, ป่าติ้ว,
ทรายมูล, 
เมืองยโสธร
246,890 
177,129 
240,052 
237,875 
423,419 
467,308 
433,051
246,889,800 
177,128,640 
240,056,900 
261,662,720
423,419,400 
467,307,750 
476,356,386

สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดยโสธร
ชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดยโสธร(หลังใหม่) อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35000
โทรศัพท์ : 0-4571-3035, 0-4571-5343  โทรสาร : 0-4571-3035 ต่อ 13,17
อีเมล์ :
 admin@yasothonlocal.go.th , mymail7848@gmail.com
Powered By 
yasothonlocal.go.th